http://dtcd.igetweb.com
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

หน้าหลัก

บุคลากร

บทบาทหน้าที่

 ข้อมูลทั่วไปอำเภอ

 แผนที่อำเภอ

 ข่าวสาร

 กรมการพัฒนาชุมชน

 สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด

สถิติ

เปิดเว็บ26/11/2014
อัพเดท11/09/2017
ผู้เข้าชม51,332
เปิดเพจ84,675
สินค้าทั้งหมด1

สินค้า

 สินค้าทั้งหมด

แผนพัฒนาหมู่บ้าน

การบริหารจัดการครัวเรือน

พัฒนาชุมชนใสสะอาด

เครือข่าย พช.

ศูนย์เรียนรู้สัมมาชีพชุมชน

ศาสตร์พระราชา

สัมมาชีพชุมชน

รายงานการพัฒนาหมู่บ้าน/ตำบล VDR/TDR

หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

CDD WORK SMART

ข้อมูลพื้นฐานหมู่บ้าน

ผลิตภัณฑ์เด่นชุมชน

iGetWeb.com
AdsOne.com

รายงานการพัฒนาตำบลบ้านแก้ง ปี 2560

รายงานการพัฒนาตำบลบ้านแก้ง ปี 2560

ส่วนที่ 1  สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน

1. สภาพทั่วไป

1.1 ที่ตั้ง

เทศบาลตำบลบ้านแก้งได้จัดตั้งขึ้นเป็นเทศบาลตำบลเมื่อวันที่  28 กุมภาพันธ์  พ.ศ.2551  เทศบาลตำบลบ้านแก้ง  ตั้งอยู่บ้านเลขที่  85 หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านแก้ง อำเภอดอนตาล   จังหวัดมุกดาหาร อยู่ห่างจากอำเภอเมืองมุกดาหาร  21  กิโลเมตร  ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอำเภอดอนตาล  ห่างจากอำเภอดอนตาลประมาณ  19   กิโลเมตร

1.2  เนื้อที่

เทศบาลตำบลบ้านแก้ง มีเนื้อที่เขตการปกครองทั้งหมด 24.08  ตารางกิโลเมตร หรือ 15,536 ไร่

1.3 ภูมิประเทศ

สภาพภูมิประเทศทั่วไปเป็นที่ราบติดเชิงเขา มีภูเขาทางด้านทิศเหนือจรดทิศตะวันตกของตำบล ทางทิศตะวันออกและทิศใต้จะเป็นที่ดอนและที่ราบลุ่มลำห้วย หนองน้ำธรรมชาติ โดยเฉลี่ยสูงจากระดับน้ำทะเลโดยประมาณ  169 เมตร      เทศบาลตำบลบ้านแก้งมีอาณาเขตดังนี้

ทิศเหนือ         ติดต่อกับ        ตำบลนาสีนวน อำเภอเมือง  จังหวัดมุกดาหาร

ทิศใต้            ติดต่อกับ        ตำบลโพธิ์ไทร อำเภอดอนตาล  จังหวัดมุกดาหาร

ทิศตะวันออก   ติดต่อกับ        ตำบลโพธิ์ไทร อำเภอดอนตาล  จังหวัดมุกดาหาร

 

 

ทิศตะวันตก     ติดต่อกับ        ตำบลเหล่าหมี อำเภอดอนตาล/ตำบลดงเย็น อำเภอเมือง  จังหวัดมุกดาหาร

1.4 สภาพพื้นที่ป่าไม้

          สภาพป่าไม้ส่วนใหญ่อยู่บนภูเขา ซึ่งหลังเขาจะมีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบ มีลำห้วย ลักษณะป่าเป็นป่าไม้เบญจพรรณ มีต้นไผ่ขึ้นสลับ บางส่วนได้ถูกเกษตรกรบุกรุก จับจองทำไร่มันสำปะหลัง ซึ่งอยู่ในเขตหมู่ที่ 4, 5, 6, 7 ตำบลบ้านแก้งมีพื้นที่ป่าไม้และภูเขาจำนวน 5,146 ไร่

1.5 อุณหภูมิ

          อุณหภูมิอยู่ระหว่าง ประมาณ  18 – 40 องศาเซลเซียส

          ความชื้นสัมพัทธ์ ประมาณ 65 – 80% เหมือนกับจังหวัดอื่นๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั่วไป

1.6 ปริมาณน้ำฝน

          ฝนตกตามฤดูกาล ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม – ตุลาคม ปริมาณฝนตกมากที่สุดในเดือนสิงหาคม และเดือนกันยายน โดยมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 1,500 มิลลิเมตร/ปี ตำบลบ้านแก้งจะได้รับอิทธิพลจากพายุต่างๆ และร่องความกดอากาศต่ำที่พัดมาจากทะเลจีนผ่านประเทศเวียดนาม ลาว กัมพูชา เหมือนตำบลอำเภอต่างๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

1.4  จำนวนหมู่บ้าน เนื้อที่แต่ละหมู่บ้าน ครัวเรือน  ประชากร

เทศบาลตำบลบ้านแก้งมีจำนวนหมู่บ้านทั้งหมด  7  หมู่บ้าน

หมู่ที่

ชื่อหมู่บ้าน

เนื้อที่ (ไร่)

จำนวนหลังคาเรือน

จำนวนประชากรแยกเป็น

ชาย

หญิง

รวม

1

แก้ง

2,750

113

185

168

353

2

คำดู่

2,341

146

263

252

515

3

ดง

2,694

192

339

364

703

4

นาคำน้อย

2,691

144

255

278

533

5

ภูวง

2,470

116

204

216

420

6

หนองบัว

1,440

36

54

57

111

7

คำเตาเหล็ก

1,150

112

181

201

382

รวม

15,536

859

1,481

1,536

3,017

รวมความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย  125.29   คนต่อตารางกิโลเมตร  ข้อมูล  ณ เดือน ตุลาคม   2559 

1.5 จำนวนคนที่มีเอกสารสิทธิ์ในที่ดินทำกิน

หมู่ที่

จำนวนคน

(ราย)

นส.3ก.

(ไร่/งาน/ตร.ว)

จำนวนคน

(ราย)

สปก.4-01

(ไร่/งาน/ตร.ว)

จำนวนคน

(ราย)

กสน.5

(ไร่/งาน/ตร.ว)

1

23

204-4-68

66

183-2-231

44

138-2-334

2

43

312-0-370

62

846-1-261

68

692-3-4

3

84

757-1-321

54

905-0-133

104

1-296-0-267

4

38

243-2-7

29

222-3-222

73

608-1-397

5

10

86-2-103

77

1-418-2-4

2

16-0115

6

5

116-0-291

17

268-2-268

3

44-2-207

7

20

190-0-308

8

57-1-294

54

443-2-192

รวม

223

1-911-0-268

313

4-702-2-233

348

3-240-1-316

ตารางการใช้ที่ดินของตำบล

ที่

กิจกรรม

พื้นที่(ไร่)

หมายเหตุ

1

ปลูกข้าว

-ข้าวเจ้า                 

-ข้าวเหนียว

 

 

800

5,080

รวม              5,880. -

 

2

ปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น

-ยางพารา

-ปาล์มน้ำมัน

-ยูคาลิปตัส

 

 

549

10

230

รวม               789 . -

 

3

ปลูกพืชไร่

-อ้อยโรงงาน

-มันสำปะหลัง

 

 

3,255

773

รวม              4,028. –

 

4

พืชผัก

- พริก

- ผักสวนครัว

- ผักตามฤดูกาล

 

 

 

รวม                 160 .-

 

5

ป่าไม้, ภูเขา

-เป็นเขตต้นน้ำ

-ลำห้วย

-เป็นป่าเบญจพรรณ

-อื่นๆ

 

 

 

 

รวม                5,146 .-

 

6

อื่นๆ

-ที่อยู่อาศัย

-หนองน้ำสาธารณะ

-ลำห้วย

-ที่สาธารณะประโยชน์อื่นๆ

 

 

 

 

 

รวม                6,723. -

 

  1. สภาพทางเศรษฐกิจ

2.1 ด้านการเกษตร

2.1.1 การผลิตพืช

-   การทำนา  เป็นการทำนาปีอย่างเดียว  มีบางส่วนหลังฤดูการเก็บเกี่ยวก็ปลูกพืชฤดูแล้ง ส่วน

ใหญ่อยู่ที่หมู่  2, 3, 4  การทำนายังต้องอาศัยน้ำฝนอย่างเดียวเป็นการปลูกเพื่อบริโภคในครัวเรือนเมื่อเหลือก็จำหน่าย

-   ปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น  ส่วนใหญ่จะปลูกมะม่วงแก้วปลูกแบบส่วนหลังบ้าน  ปลูกตามหัวไร่ปลาย

นาปลูกไว้เพื่อบริโภคและจำหน่ายตามฤดูกาล เช่น มะม่วงแก้ว  มีการปลูกไม้ยูคาลิปตัสและยางพาราบางส่วน

-   พืชไร่ จะปลูกมากที่บริเวณหลังเขาทางทิศเหนือของตำบล พืชที่ปลูกได้แก่  มันสำปะหลัง 

ฝ้าย  ข้าวไร่  ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกษตรกรบุกรุกตัดไม้ทำลายป่ามากขึ้น

-   พืชผัก ปลูกเพื่อการบริโภคในครัวเรือนและมีการปลูกพืชฤดูแล้งเพื่อการจำหน่าย เช่น

แตงกวา  ข้าวโพดหวาน  พริก  และพืชผักต่างๆ

2.1.2    การผลิตสัตว์

-       การเลี้ยงโคกระบือ  มีการเลี้ยงแบบปล่อยตามธรรมชาติในฤดูแล้งหรือต้อนไปเลี้ยงที่บริเวณเทือกเขาหรือบนภูเขา  การปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ยังมีน้อย  เนื่องจากขาดแคลนเมล็ดพันธุ์  ขาดแหล่งน้ำในการเพาะปลูก  ปัจจุบันจะมีการเลี้ยงโคพันธุ์พื้นเมืองมากกว่ากระบือ  โคลูกผสมมีการเลี้ยงแต่ถือว่าน้อยมาก

-       การเลี้ยงสุกร  สุกรพันธุ์ เช่น แลนเรซ  ลาร์ทไวท์  แต่การเลี้ยงยังไม่แพร่หลายจะกระจายอยู่เฉพาะเกษตรกรที่มีฐานะดีเท่านั้น

-       การเลี้ยงสัตว์ปีก  มีการเลี้ยงแบบปล่อยเลี้ยงตามธรรมชาติ  ขาดการดูแลเอาใจใส่เท่าใดนัก  เลี้ยงในบริเวณบ้าน  หัวไร่ปลายนา  เกษตรกรยังขาดความรู้ในการป้องกันกำจัดโรคและมีการเลี้ยงเพื่อการบริโภคและจำหน่ายบางส่วน

2.1.3 การผลิตด้านการประมง

- ตำบลบ้านแก้งปัจจุบันมีการเลี้ยงปลาแบบปล่อยตามธรรมชาติ ขาดความรู้ในการดูแล

ปลา และเลี้ยงตามบ่อเลี้ยงปลาขนาดตั้งแต่ 1 งาน - 1 ไร่  เลี้ยงไว้เพื่อบริโภคเท่านั้น  เหลือก็จำหน่ายบางราย  ปลาที่นิยมเลี้ยง  เช่น  ปลานิล  ตะเพียน  ยี่สก  นวลจันทร์ เป็นต้น

2.2.7 ปริมาณผลผลิต

                                 ปริมาณการผลิตพืชในตำบล

-          ข้าว               5,880            ไร่

-          มันสำปะหลัง       773            ไร่

-          อ้อยโรงงาน     3,255   ไร่

-          ไม้ผลไม้ยืนต้น     789   ไร่

-          พืชผัก               160   ไร่

 

ปริมาณการเลี้ยงสัตว์

-          โค                 1,274                    ตัว

-          กระบือ           213             ตัว

-          สุกร               2,500                    ตัว

-          เป็ด                509             ตัว

-          ไก่พื้นเมือง       3,941                    ตัว

ปริมาณการผลิตด้านการประมง

-          เลี้ยงปลา                   93     บ่อ

          ด้านอุตสาหกรรมและพาณิชย์

                   - ร้านค้าทั่วไป                               21     ร้าน

                   - เขียงจำหน่ายเนื้อสัตว์                   -         แห่ง

                   - โรงสีข้าวขนาดเล็ก                       15     โรง

                   - ปั๊มน้ำมัน(ปั๊มหลอด)                     5       แห่ง

                   - ปั๊มน้ำมันขนาดกลาง                     5       แห่ง

                   - ร้านเสริมสวย                             2       แห่ง

- ร้านรับซื้อ-ขายของเก่า                  2       ร้าน

                   - หล่อเสาคอนกรีต                         -         ร้าน

                   - ร้านซ่อมมอเตอร์ไซด์                    3       ร้าน

                   - ร้านซ่อมรถยนต์                          5       ร้าน

                   - ฟาร์มหมูขนาดกลาง (300-400 ตัว) 13   ฟาร์ม

                   - ร้านขายอาหาร                           4       ร้าน

ด้านแรงงาน

                   - แรงงานภาคเกษตรกรรม               2,241            คน

                   - รับจ้าง                                         263            คน

                    - อื่นๆ                                          132            คน

รายได้เฉลี่ยของประชากร     

                   รายได้เฉลี่ยครัวเรือน/ปี                   61,584  บาท

3. สภาพทางสังคม

          การศึกษา

          -  โรงเรียนประถมศึกษา                           5       แห่ง

          -  โรงเรียนมัธยมศึกษา                             1       แห่ง

          - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านดง หมู่ที่  3  มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด  38  คน

                   (ครูผู้ดูแลเด็ก  2  คน)

          - ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดศิลาวิเวก  บ้านแก้ง มีจำนวนเด็กทั้งหมด  46    คน

                   (ครูผู้ดูแลเด็ก  3  คน)

- มีที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน   7       แห่ง

          สถาบันและองค์กรทางศาสนา

                   - วัดประจำหมู่บ้าน               6  แห่ง  สำนักสงฆ์   2   แห่ง

                   - มัสยิด                                       -   แห่ง

                   - ศาลเจ้า                           -   แห่ง

                   - โบสถ์                              -   แห่ง

          ด้านการป้องกันความปลอดภัย

                             - มีจุดตรวจ/ป้อมตำรวจ        1   แห่ง

          สาธารณสุข

                   -  มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน  1  แห่ง  (มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  3  คน  มี อสม. 90  คน)

                        มีส้วมซึม  คิดเห็นร้อยละ 100  ของจำนวนครัวเรือน

                   -  โรคระบาดที่สำคัญได้แก่

                             1.  ไข้เลือดออก

                             2.   ตาแดง

                             3.   อาหารเป็นพิษ

                             4.  ไข้ไม่ทราบสาเหตุ

4.  การบริการพื้นฐาน

          การคมนาคม

-              มีถนนสายหลักที่สำคัญคือถนนสายมุกดาหาร- ดอนตาลพาดผ่าน  สามารถใช้เดินทางติดต่อ

ระหว่างตำบลถึงจังหวัดมุกดาหาร  และตำบลถึงอำเภอดอนตาลได้โดยสะดวก

-              การคมนาคมภายในตำบล มีถนนเชื่อมโยงติดต่อระหว่างหมู่บ้านกับหมู่บ้านมีทั้งคอนกรีตและ

ถนนลูกรังแต่ส่วนใหญ่จะเป็นถนนลูกรัง

ทางบกประเภทถนนในตำบล

          1.  คอนกรีต                       14               สาย

          2.  ลาดยาง                         3               สาย

          3.  ลูกรัง/ดิน                      22               สาย

การคมนาคม/การสื่อสารภายในตำบล

          หมู่บ้าน - ตำบล – อำเภอ -จังหวัด ติดต่อโดยใช้ โทรสาร/โทรศัพท์/วิทยุสื่อสาร

การไฟฟ้า

          จากหมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 7  เทศบาลตำบลบ้านแก้งมีไฟฟ้าใช้  100 % ทุกหลังคาเรือน

ทรัพยากรธรรมชาติ

          แหล่งน้ำตามธรรมชาติ

          - ลำห้วย                            2                 สาย

          - บึง,หนองและอื่นๆ              6                 สาย

            ป่าไม้  ป่าภูแอก

แหล่งสาธารณูปโภคที่สร้างขึ้น

          - ฝาย                               11               แห่ง

          - บ่อน้ำตื้น                         29               แห่ง

          - บ่อมือโยก                        46               แห่ง

          - ประปาหมู่บ้าน                  9                 แห่ง

          - สระเก็บน้ำ                         3               แห่ง 

5. ข้อมูลอื่นๆ

          มวลชนจัดตั้ง/กลุ่มองค์กรชาวบ้าน

          - กลุ่มเลี้ยงหมู                     1                 กลุ่ม

          - กลุ่มเลี้ยงปลา-ไก่              -                    กลุ่ม

          - กลุ่มเลี้ยงโค-กระบือ            2                 กลุ่ม

          - กลุ่มอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน      -      กลุ่ม

          - ชมรมผู้สูงอายุ                   1                 ชมรม

          - กลุ่มนวดแผนไทย               1                 กลุ่ม

          - กลุ่มแม่บ้าน                     7                 กลุ่ม

          - ลูกเสือชาวบ้าน                  -

          - กลุ่มออมทรัพย์                  -

          - อปพร.                            77               คน

          - กนช.                              6                 รุ่น

          - อพป. 4 หมู่บ้าน (บ้านแก้ง,บ้านคำดู่, บ้านดง และบ้านนาคำน้อย)

          - ผรส.                                          7     คน

6.  ศักยภาพภายในตำบล

          ก. ศักยภาพของเทศบาลตำบล

          1.  จำนวนบุคลากรมีจำนวน            31    คน   ดังนี้

                   ตำแหน่งในสำนักปลัดเทศบาล  21     คน

                   ตำแหน่งในกองคลัง               4       คน

                   ตำแหน่งในกองช่าง               6       คน

          2.  ระดับการศึกษาของบุคลากร

                   ประถมศึกษา                               -                 คน

                   มัธยมศึกษาตอนปลาย                    1                 คน

                   ปวช.                                          -                 คน

                   อนุปริญญา                                  3                คน

                   ปริญญาตรี                                    11             คน

                   สูงกว่าปริญญาตรี                          10               คน

          3.  รายได้ของเทศบาลตำบลบ้านแก้งปี  2558

                   (ข้อมูล   30   กันยายน  2557  -   1  ตุลาคม  2558)

                   รายได้ที่เทศบาลจัดเก็บเอง               590,942.67                    บาท

                   รายได้ที่ส่วนราชการต่างๆจัดเก็บให้    12,906,535.59    บาท

                   เงินอุดหนุนจากรัฐบาล                    11,124,697                    บาท

                   เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ                      6,940,797.00       บาท

                   รวมรายรับไม่รวมเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ     24,622,175.26         บาท

                   รวมรายรับทั้งสิ้น                                     31,562,972.26    บาท

                รายจ่ายทุกหมวดตามเทศบัญญัติทั้งสิ้น             20,996,598.32        บาท

                          ร่ายจ่ายเงินอุดหนุนพัฒนาประเทศ       1,043,000.00        บาท             

                          รายจ่ายเงินอุดหนุนเฉาะกิจ              6,858,897.00         บาท                 

          ข.  ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่

                   1.  การรวมกลุ่มของประชาชน

                         อำนวยการกลุ่มทุกประเภท คือกองทุนหมู่บ้าน   1   ล้านบาท

                   2.  จุดเด่นของพื้นที่ที่เอื้อต่อการพัฒนาตำบล

                         เทศบาลตำบลบ้านแก้ง  มีถนนสายมุกดาหาร-ดอนตาลพาดผ่านและคมนาคมไปมา    ระหว่างหมู่บ้านติดต่อกันได้สะดวกและรวดเร็วเป็นจุดเด่นที่ทำให้หน่วยงานสามารถเข้ามาติดต่อประสานงานกับผู้นำชุมชนและเทศบาลตำบลบ้านแก้งได้ในเวลาราชการ

ส่วนที่ 2 สภาพปัญหาและสาเหตุ

ผลการพัฒนาที่ผ่านเกณฑ์  ตัวชี้วัดความจำเป็นขั้นพื้นฐาน (จปฐ)  ตัวชี้วัด

          1.1  สุขภาพดี

                   - หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดและได้รับวัคซีนครบ

                   - หญิงที่คลอดลูกได้รับการทำคลอดและดูแลหลังคลอด

                   - เด็กแรกเกิด 1 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคครบ

                   - เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่ครบ  4 เดือนแรกติดต่อกัน

                   - เด็ก  6 – 12 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนครบ

          1.2  มีบ้านอยู่อาศัย

                   - ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัยและมีบ้านสภาพคงทนถาวร

                   - ครัวเรือนมีน้ำเพื่ออุปโภค-บริโภคเพียงพอตลอดปี

                   - ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

1.3  ฝักใฝ่การศึกษา

                   - เด็กอายุ  3 - 5 ปีเต็ม ได้รับการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน

                   - เด็ก 6  - 15 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ  9  ปี

                   - คนอายุ  15 -60 ปี อ่านออกเขียนภาษาไทยได้

                   - คนในครัวเรือนได้รับข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5   ครั้ง

          1.4  รายได้ก้าวหน้า

                   - คนอายุ  18 -60  ปี มีการประกอบอาชีพและมีรายได้

                   - คนในครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยไม่ต่ำกว่าคนละ  20,000.บาท ต่อคน

                   - ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน

          1.5  ปลูกฝังค่านิยมไทย

                   - คนในครัวเรือนไม่ติดสุรา

                   - คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่

                   - คนอายุ 6 ปีขึ้นไปทุกคนปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่างน้อยสัปดาห์ละ   1  ครั้ง

การประเมินผลการนำแผนพัฒนาไปปฏิบัติในเชิงปริมาณ

ผลการพัฒนาท้องถิ่นในปีที่ผ่านมาภายใต้แผนพัฒนาเทศบาลตำบลบ้านแก้ง พ.ศ. 2558 ในการนำแผนพัฒนาไปปฏิบัติเชิงปริมาณยังไม่ได้เป็นไปตามแผนเท่าที่ควร  อันเนื่องมาจากมีแผนงาน/โครงการและกิจกรรมในแผนพัฒนาตำบลประจำปีมีมากและรายได้ที่เทศบาลตำบลจัดเก็บเองจากส่วนราชการอื่นจัดเก็บให้รวมทั้งเงินอุดหนุนจากทางรัฐบาลมีจำนวนจำกัด  ไม่เพียงพอแก่การบริหารให้เป็นไปตามแผนพัฒนา ทำให้ประสิทธิภาพของแผนพัฒนาในเชิงคุณภาพไม่สามารถดำเนินการตามแผนได้หมด แต่งบประมาณในส่วนที่มีทั้งหมดก็สามารถนำมาพัฒนาท้องถิ่นได้

การวิเคราะห์สภาพปัญหา(SWOT  ANALYSIS)

          วิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน(INTERNAL  FACTOR) ให้ได้จุดแข็ง (Strength  =  S) จุดอ่อน(Weak= W)  ประกอบด้วยปัจจัยด้านต่างๆที่ต้องนำมาพิจารณาดังนี้

          1.  ด้านการบริหาร  ได้แก่การแบ่งส่วนราชการ  การวางแผนงาน  การประสานงาน  การมอบอำนาจ  การกำกับดูแล เป็นต้น

          2.  เรื่องระเบียบ  กฎหมาย

          3. เรื่องบุคลากร  ได้แก่ อัตรากำลัง คุณภาพ  วินัย  ทัศนคติ พฤติกรรมเป็นต้น

          4. เรื่องงบประมาณและความช่วยเหลือต่างๆ

          5. เรื่องระบบฐานข้อมูล

          6. เรื่องประสานงาน  การอำนวยการ  และความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

          7. เรื่องทรัพยากร เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำงาน

จุดแข็ง (Strength = S)

          1. เทศบาลตำบลบ้านแก้งเป็นพื้นที่ขนาดเล็ก มีเขตติดต่อระหว่างหมู่บ้านกับหมู่บ้านใกล้กันและมีเส้นทางสัญจรไปมาได้สะดวกง่ายต่อการติดต่อประสานงาน

          2. มีจำนวน สท. ข้าราชการและลูกจ้างไม่มากทำให้เกิดความคล่องตัวในการทำงาน  การแบ่งงานตามสายงานของแต่ละส่วนงาน  รวมทั้งการกกับดูแลเป็นต้น

          3. มีความร่วมมือจากประชาชน ความร่วมมือจากหน่วยงานราชการและหน่วยงานจากเอกชนในท้องถิ่นค่อนข้างสูง

          4.  มีความร่วมมือระหว่างฝ่ายบริหารและฝ่ายสภาท้องถิ่น  ในการกำหนดเทศบัญญัติต่างๆอยู่ในกรอบของกฎหมาย  ทำให้เกิดการพัฒนาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

          5.  สังคมมีความสงบเรียบร้อยปลอดภัย  มีขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ดีงาม

          6. มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และเชิงวัฒนธรรม

          7.  เส้นทางการคมนาคมขนส่งสายหลักที่สะดวก

          8.  มีสถานศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษา  มีสถานีอนามัย  และมีป้อมยามตำรวจ

จุดอ่อน (Weak- W)

          1.  การกำหนดเทศบัญญัติท้องถิ่นยังไม่ครอบคลุมทุกด้าน

          2.  การให้บริการประชาชนยังไม่มีการกำหนดลดขั้นตอนการปฏิบัติงานให้ชัดเจนทำให้เกิดความล่าช้าในบางเรื่อง

          3.  เป็นเทศบาลขนาดเล็กรายได้ที่จัดเก็บเองและเงินอุดหนุนจากส่วนกลางไม่เพียงพอต่อโครงการหรือกิจกรรมที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก  ทำให้เกิดการจัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาท้องถิ่นเป็นไปอย่างไม่ทั่วถึง

          4.  กลุ่มหรือองค์กรชุมชนยังขาดความเข้มแข็ง

          การวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (EXTERNAL  FACTOR)  ได้แก่โอกาส (Opportunity = O)

ข้อจำกัด (Threat = T) ประกอบด้วยปัจจัยด้านต่างๆที่ต้องการนำมาพัฒนาดังนี้

          1.  ด้านการเมืองรวมถึงระดับความขัดแย้งและกลุ่มผลประโยชน์

          2.  ด้านเศรษฐกิจ  ได้แก่เศรษฐกิจโดยรวมในเขตพื้นที่ เช่นผลิต  รายได้  รายจ่าย  การออม  การลงทุน  การใช้ที่ดิน  แรงงาน การเกษตรกรรม  การพาณิชยกรรม  การคลัง

          3.  ด้านสังคม

          4.  ด้านนโยบายและกฎหมาย

          5. ด้านเทคโนโลยี

โอกาส (Opportunity  =O )

          1.  ไม่มีความขัดแย้งด้านการเมืองระหว่างผู้บริหารและสภาท้องถิ่นทำให้การกำหนดนโยบาย  ข้อเทศบัญญัติต่างๆ  เป็นไปเพื่อผลประโยชน์ของท้องถิ่นต่างๆ

          2.  ความสัมพันธ์ของประชาชนในท้องถิ่นส่วนใหญ่ยังเป็นสังคมแบบเครือญาติ มีความขัดแย้งทางการเมืองไม่ถึงขั้นรุนแรง ทำให้มีการพูดคุย  การประนีประนอม การประสานงาน  เข้าใจกันได้ง่าย  การพัฒนาจึงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

          3.  ลักษณะทางงภูมิศาสตร์ของท้องถิ่น ยังมีความอุดมสมบูรณ์ ในฤดูแล้งประชาชนก็ประกอบอาชีพการเกษตรและมีผลผลิตออกสู่ท้องตลาด

          4.  เขตติดต่อระหว่างหมู่บ้านถึงหมู่บ้านสามารถติดต่อประสานงานกันได้อย่างรวดเร็ว

          5.  มีวิทยุสื่อสารประจำครบทุกหมู่บ้านสามารถติดต่อประสานงานได้อย่างรวดเร็ว

          6.  มีเส้นทางคมนาคมที่สำคัญ  ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2034  (มุกดาหาร-ดอนตาล) สามารถใช้เป็นเส้นทางติดต่อจังหวัดมุกดาหารและอำเภอดอนตาลได้อย่างรวดเร็ว

ข้อจำกัด (Threat =T)

          1. การส่งเสริมการลงทุนประกอบกิจการธุรกิจการค้า  จะมุ่งสู่ตัวจังหวัดเป็นหลัก

          2. สถาบันการศึกษาระดับสูงกว่ามัธยมศึกษาส่วนใหญ่จะอยู่เขตเมืองไม่กระจายการบริการการศึกษาสู่อำเภอ  ตำบล  ทำให้ประชาชนขาดโอกาสที่จะเรียนต่อระดับอุดมศึกษา

          3. รายได้ของท้องถิ่นเองและงบประมาณที่อุดหนุนจากส่วนกลางไม่เพียงพอที่จะพัฒนาท้องถิ่นให้ได้ครบทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม  เศรษฐกิจ การเมือง การศึกษาและโครงสร้างพื้นฐาน

          4.  ประชาชนมีฐานะไม่ดีหนี้สินรุงรัง  ทำให้เกิดการอพยพแรงงานไปทำงานต่างจังหวัดและต่างประเทศโดยการกู้เงินในระบบและนอกระบบ

          5.  ราคาผลผลิตสินค้าทางการเกษตรตกต่ำ

ส่วนที่ 3  สรุปยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา

วิสัยทัศน์การพัฒนา

“เป็นองค์กรแห่งการพัฒนา อย่างมีส่วนร่วมกับภาคประชาชน และองค์กรทุกภาคส่วน  เพื่อแก้ปัญหาความเดือดร้อนและตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ”

พันธกิจการพัฒนาท้องถิ่น

          1. ส่งเสริมรายได้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั้งยืน

2. พัฒนาปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมทั้งในพื้นที่ชุมชนและพื้นที่การเกษตรอย่างทั่วถึง

3. พัฒนาปรับปรุงการให้บริการน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคและเพื่อการเกษตรให้เพียงพอต่อความต้องการ

4. พัฒนาปรับปรุงการให้บริการไฟฟ้าและแสงสว่างให้ครอบคลุมทุกพื้นที่และครบทุกครัวเรือน

5. พัฒนาระบบป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยให้ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

          6. ส่งเสริมการจัดระเบียบชุมชนและสังคมรวมทั้งเสริมสร้างความสมัครสมานสามัคคีภายในท้องถิ่น

          7. ส่งเสริมการศึกษาในระบบและนอกระบบให้ประชาชนทุกระดับได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง

          8. ส่งเสริมสวัสดิการ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยเอดส์และผู้ยากไร้ในตำบล

          9. ควบคุม ป้องกันและระงับโรคติดต่อรวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง

          10. ส่งเสริมบทบาทสตรี ทั้งการรวมกลุ่มอาชีพและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น

          11. ส่งเสริมการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น

          12. พัฒนายกระดับแหล่งท่องเที่ยวภายในตำบลให้เป็นสัญลักษณ์ของตำบล

          13. ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

14. ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน  ประชาชน และความร่วมมือจากหน่วยงานราชการในการพัฒนาแบบยั่งยืน

 

จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

          1. ส่งเสริมการประกอบอาชีพและรณรงค์ให้ประชาชนดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั้งยืน

          2. จัดเตรียมความพร้อมในระบบป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยทั้งด้านบุคลากรและอุปกรณ์เครื่องมือเพื่อรับมือกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ

          3. จัดให้มีกิจกรรมในการจัดระเบียบชุมชนและสังคม รวมถึงการเสริมสร้างความสมัครสมานสามัคคีภายในท้องถิ่น

          4. จัดการศึกษาในระดับปฐมวัยและส่งเสริมการศึกษาในระบบและนอกระบบให้ประชาชนทุกระดับได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง

          5. จัดสวัสดิการเบี้ยยังชีพและสงเคราะห์ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยเอดส์และผู้ยากไร้ในตำบล

          6. ก่อสร้าง ปรับปรุงและซ่อมแซมถนน ทางเท้า และระบบระบายน้ำ ในชุมชนและพื้นที่การเกษตรอย่างทั่วถึง

          7. ก่อสร้างและพัฒนาปรับปรุงระบบประปาหมู่บ้านและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรให้เพียงพอต่อความต้องการ

          8. ให้บริการขยายเขตไฟฟ้าและติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างให้ครอบคลุมทุกพื้นที่และครบทุกครัวเรือน

          9. ดำเนินการควบคุม ป้องกันและระงับโรคติดต่อรวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ในการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยให้สมบูรณ์แข็งแรง

          10. ส่งเสริมกลุ่มอาชีพสตรีให้มีความเข้มแข็งและพัฒนาให้สตรีมีบทบาทในการร่วมพัฒนาตำบล

          11.อนุรักษ์ฟื้นฟูประเพณีวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยทุกหมู่บ้านต้องมีประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ในการถือปฏิบัติเพื่อสืบสานเป็นประจำทุกปี

          12. พัฒนายกระดับแหล่งท่องเที่ยวภายในตำบลให้มีจุดขายที่เป็นสัญลักษณ์ของตำบลเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวและส่งเสริมอาชีพการให้บริการนักท่องเที่ยวให้กับประชาชนในลำดับต่อไป

          13. รณรงค์ปลูกฝังจิตสำนึกให้กับประชาชนร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไว้ให้แก่ลูกหลานต่อไป

14. ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมของผู้นำชุมชน  ประชาชน และความร่วมมือจากหน่วยงานราชการเพื่อบูรณาการในการพัฒนาแบบยั่งยืน

ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา

ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี ( พ.ศ. 2555-2558) ของเทศบาลตำบลบ้านแก้ง  ได้กำหนดยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา  เพื่อให้วิสัยทัศน์ประสบความสำเร็จในช่วงสามปีจำนวน  7  ยุทธศาสตร์ ดังนี้

1.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาแหล่งน้ำ  โครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค สาธารณูปการ

1.1 แนวทางการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการสาธารณูปโภคและเพื่อการเกษตร

1.2 แนวทางการพัฒนาด้านการคมนาคม

1.3 แนวทางการพัฒนาการก่อสร้างอาคาร การบริการไฟฟ้าและการสาธารณูปการอื่นๆ

2.  ยุทธศาสตร์ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงและขจัดความยากจน

2.1 ส่งเสริมการประกอบอาชีพ การรวมกลุ่มอาชีพและวิสาหกิจชุมชนให้เข้มแข็ง

2.2 โครงการส่งเสริมแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

2.3 แนวทางการส่งเสริมการตลาดและการลงทุน

3.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ

3.1 แนวทางการพัฒนาการศึกษา

3.2 แนวทางการดำเนินงานพัฒนาเมืองน่าอยู่

3.3 แนวทางส่งเสริมสุขภาพอนามัยและป้องกันระงับโรคติดต่อ

3.4 การจัดสวัสดิการสังคม

4.  ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

4.1 สร้างจิตสำนึกและตระหนักในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

4.2 การจัดการขยะมูลฝอยและระบบบำบัดน้ำเสีย

5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว

แนวทางการพัฒนา

5.1 แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว และการปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว

6. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมประเพณีวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

6.1 แนวทางการพัฒนา การอนุรักษ์และสืบทอดประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น

7.ยุทธศาสตร์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

แนวทางการพัฒนา

7.1  แนวทางการพัฒนา การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรทุกภาคส่วน

7.2  แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสนเทศและการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของเทศบาล

ตำบลบ้านแก้ง

7.2  แนวทางการพัฒนาเพิ่มขีดสมรรถภาพ ปรับปรุงกระบวนการทัศน์ในการทำงานของบุคลากร

ในเทศบาลตำบลบ้านแก้ง

7.3  แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์สถานที่ทำงานของประชาชน

ส่วนที่ 4 แผนพัฒนา 3 ปี  (2560 – 2562)

เทศบาลตำบลบ้านแก้ง

ยุทธศาสตร์

 

ปี   2560

ปี   2561

ปี   2562

รวม  3 ปี

 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

 

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

 

1.) การพัฒนาแหล่งน้ำ  โครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค สาธารณูปการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.1   แนวทางการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการ

5

6,210,000

21

36,540,000

27

42,750,000

53

85,500,000

 

สาธารณูปโภคและเพื่อการเกษตร

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 1.2   แนวทางการพัฒนาด้านการคมนาคม

12

15,880,000

26

69,520,008

30

112,109,668

68

197,509,676

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 1.3   แนวทางการพัฒนาการก่อสร้างอาคาร

6

1,750,000

12

9,920,000

12

13,710,000

30

27,380,000

 

การบริการไฟฟ้าและการสาธารณูปการอื่นๆ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รวม

23

23,840,000

59

115,980,008

69

168,569,668

151

308,389,676

 

 

 

 

 

ส่วนที่ 5 บัญชีสรุปโครงการพัฒนา

แผนพัฒนา 3 ปี (2560 – 2562)

เทศบาลตำบลบ้านแก้ง

ยุทธศาสตร์

 

ปี   2560

ปี   2561

ปี   2562

รวม  3 ปี

 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

 

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

 

2.  ยุทธศาสตร์ส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงและขจัดความยากจน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.1  ส่งเสริมการประกอบอาชีพ การรวมกลุ่มอาชีพและวิสาหกิจชุมชนให้เข้มแข็ง

4

250,000

7

830,000

15

830,000

26

1,910,000

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.2  โครงการส่งเสริมแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

2

200,000

4

270,000

9

650,000

15

1,120,000

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.3   แนวทางการส่งเสริมการตลาดและการลงทุน

3

500,000

6

680,000

12

4,330,000

21

5,510,000

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2.4  แนวทางการส่งเสริมการค้าเชื่อมโยงอาเซียนสู่สากล

1

50,000

4

160,000

4

160,000

9

370,000

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รวม

10

1,190,000

21

1,796,000

40

6,620,000

71

8,910,000

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ส่วนที่ 5สรุปโครงการพัฒนา

เทศบาลตำบลบ้านแก้ง

ยุทธศาสตร์

 

ปี   2560

ปี   2561

ปี   2562

รวม  3 ปี

 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

 

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

 

3.  ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3.1   แนวทางการพัฒนาการศึกษา

10

  3,100,000

25

6,180,000

24

6,310,000

62

15,590,000

 

3.2   แนวทางการดำเนินงานพัฒนาเมืองน่าอยู่

3

   600,000

14

2,390,000

15

2,440,000

33

5,430,000

 

3.3   แนวทางส่งเสริมสุขภาพอนามัยและป้องกันระงับโรคติดต่อ

 

6

 

760,000

 

19

 

1,820,000

 

19

 

1,820,000

 

44

 

4,400,000

 

3.4   การจัดสวัสดิการสังคม

8

4,400,000

11

3,240,000

11

3,440,000

30

11,080,000

 

รวม

31

9,290,000

69

13,630,000

69

14,010,000

169

36,930,000

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์

 

ปี   2560

ปี   2561

ปี   2562

รวม  3 ปี

 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

 

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 ( บาท )

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

 

4.  ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4.1   สร้างจิตสำนึกและตระหนักในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

2

60,000

6

455,000

6

455,000

15

970,000

 

4.2   การจัดการขยะมูลฝอยและระบบบำบัดน้ำเสีย

4

1,650,000

4

1,200,000

5

2,200,000

13

5,050,000

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

รวม

6

1,710,000

10

1,655,000

11

2,655,000

28

6,020,000

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์

 

ปี   2560

ปี   2561

ปี   2562

รวม  3 ปี

 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

 

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

 

5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

5.1   แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยว และการปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว

1

1,000,000

10

4,300,000

13

11,300,000

24

16,600,000

 

รวม

1

1,000,000

10

4,3 00,000

13

11,300,000

24

16,00,000

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์

 

ปี   2560

ปี   2561

ปี   2562

รวม  3 ปี

 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

 

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

 

6.  ยุทธศาสตร์ส่งเสริมประเพณีวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

6.1   แนวทางการพัฒนา การอนุรักษ์และสืบทอดประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่น

5

650,000

15

1,480,000

15

1,480,000

35

3,610,000

 

รวม

5

650,000

15

1,480,000

15

1,480,000

35

3,610,000

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ยุทธศาสตร์

 

ปี   2560

ปี   2561

ปี   2562

รวม  3 ปี

 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

จำนวน

 งบประมาณ 

 

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

โครงการ

 (บาท)

 

7.ยุทธศาสตร์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

 

 

 

 

 

 

 

 

 

7.2  แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสนเทศและการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของเทศบาลตำบล

3

240,000

8

600,000

8

600,000

19

1,440,000

 

7.3  แนวทางการพัฒนาเพิ่มขีดสมรรถภาพ ปรับปรุงกระบวนการทัศน์ในการทำงานของบุคลากร

3

550,000

3

550,000

3

550,000

9

1,650,000

 

7.4  แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์สถานที่ทำงานของประชาชน

4

235,000

4

234,000

5

734,000

13

1,203,000

 

รวม

16

1,179,000

27

2,228,000

31

2,728,000

71

6,145,000

 


ส่วนที่ 6  ข้อเสนอแนะของนักพัฒนาต่อการพัฒนา

สรุปผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลของหมู่บ้านเปรียบเทียบจากตัวชี้วัด จปฐ. ข้อมูล กชช.๒ค. และการจัดเวทีประชาคม เพื่อให้ทราบถึงสภาพปัญหา ระดับการพัฒนาหมู่บ้าน และข้อมูลอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนก่อนลงมือทำงานจะทำให้มีขั้นตอน วิธีการทำงานที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมสนองต่อความต้องการของชุมชนได้อย่างแท้จริงและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ยุทธศาสตร์จังหวัด แผนแม่บทชุมชน จนกระทั่งการนำไปสู่การขับเคลื่อนกิจกรรมการพัฒนาหมู่บ้านให้ประสบผลสำเร็จ  จึงขอเสนอแนะในเรื่องต่อไปนี้

1. ตำบลบ้านแก้ง เป็นพื้นที่ที่ประชาชนได้มีการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็น

แนวทางในการดำเนินชีวิต และการประกอบอาชีพ ทั้งในระดับครัวเรือน และระดับชุมชน มีครัวเรือนที่สามารถเป็นต้นแบบในการนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใช้ในการดำรงชีวิตจนประสบความสำเร็จ เช่น ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านภูวง เป็นหมู่บ้านต้นแบบในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประสบความสำเร็จ สามารถเป็นแหล่งศึกษาดูงานด้านเศรษฐกิจพอเพียง และได้รับคัดเลือกให้เป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ อยู่เย็น เป็นสุข ในปี ๒๕๕7  แต่เนื่องจากปัจจุบันเป็นยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงยุคโลกาภิวัตน์การบริโภคสิ่งต่างๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อม จะทำให้วิถีชีวิตพอเพียงของชุมชนเปลี่ยนไป จึงจำเป็นต้องมีวิธีการป้องกันและสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีเพื่อมิให้เกิดความประมาทในการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิต  การรวมตัวกันเพื่อจัดตั้งกลุ่มอาชีพก็มีความสำคัญเช่นกัน  เพราะสร้างความสามัคคี  สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ทำให้ชุมชนมีเงินทุนหมุนเวียน

 ๒.เด็กเยาวชน  สตรีและคนชรา  ขาดโอกาสในการแสดงศักยภาพอย่างเต็มที่  เนื่องจากบทบาทสำคัญในชุมชนจะได้รับมอบหมายให้อยู่ในความรับผิดชอบของผู้นำชุมชน  ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเพศชาย  เพื่อลดปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม  ชุมชนควรเปิดโอกาส และสนับสนุนส่งเสริมบทบาทเด็ก  สตรี  และคนชรา  กับการมีส่วนร่วมดำเนินกิจกรรม  โครงการในทุกขั้นตอน

๓.การมีส่วนร่วมของประชาชนยังมีน้อย  เนื่องจากข้อจำกัดด้านเวลาในการทำงาน  (อาชีพหลัก)  เพื่อสร้าง

โอกาสในการพบปะพูดคุยและแลกเปลี่ยนเรียนรู้  ควรใช้เทศกาลสำคัญ ๆ  เป็นเวทีเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันและกัน

๔.ปัจจุบันการศึกษามีความสำคัญต่อการประกอบอาชีพของคนในชุมชนเพราะการศึกษาเป็นการสร้างโอกาส

และเป็นช่องทางเลือกอาชีพได้หลากหลาย  ดังนั้นผู้ปกครองควรสนับสนุนบุตรหลานให้รักการเรียนและส่งเสริมบุตรหลานให้ได้รับการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น

๕.การถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งในพื้นที่ตำบลดอนตาล มีผ้าย้อมครามที่เป็นภูมิปัญญา

ท้องถิ่นที่เด่น เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ได้มีการนำหลักสูตรสอนให้เด็กในโรงเรียน แต่ยังน้อยมาก ควรมีนำหลักสูตรสอนให้เด็กในโรงเรียนให้เต็มพื้นที่ เพื่อจะได้ปลูกฝักให้เด็กได้เรียนรู้และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้สืบยังรุ่นต่อไป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

* *

 

*

view

 หน้าแรก

 สินค้า

 บทความ

 รวมรูปภาพ

 เว็บบอร์ด

 ติดต่อเรา

view